gastroschisis
แม่ๆคนไหนมีประสบการณ์ น้องมีภาวะ gastroschisis บ้างคะขอความรู้หน่อยคะ ต้องอยู่รพ. กี่เดือนคะ แล้วน้องเป็นยังไงบ้าง
การรักษาทารกผนังหน้าท้องไม่ปิดแต่กำเนิด ความผิดปกติแต่กำเนิดของผนังหน้าท้องในทารกแรกคลอด ทำให้อวัยวะในช่องท้องอยู่นอกช่องท้อง ต้องได้รับการรักษาฉุกเฉินและการผ่าตัดที่เหมาะสมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและเพิ่มอัตราทารกรอดชีวิต อุบัติการณ์ประมาณ 1: 2,000 ในทารกคลอดมีชีวิต (1) ความผิดปกติแบ่งเป็นสองลักษณะคือ omphalocele และ gastroschisis ทั้งสองภาวะมีสาเหตุแตกต่างกัน Omphalocele ผนังหน้าท้องพัฒนาไม่สมบูรณ์ ทำให้ช่องท้องไม่ปิด มีเยื่อบางๆของ peritoneum, Wharton's jelly, amnionหุ้มอวัยวะที่ออกนอกช่องท้อง ส่วน gastroschisis ผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์ ไส้เลื่อนสะดึอแตกตอนทารกอยู่ในครรภ์ ลำไส้, กระเพาะทะลักออกนอกช่องท้องทางรูด้านข้างสายสะดือไม่มีสิ่งห่อหุ้ม การวินิจฉัย ปัญหาและการดูแลทารกที่อยู่ในครรภ์ ทำ ultrasound อายุครรภ์ 10 อาทิตย์ที่ สามารถวินิจฉัยและแยกทั้งสองภาวะออกได้สามารถตรวจพบถุง membrane ลำไส้อยู่นอกช่องท้อง ตรวจ ultrasound เป็นระยะ ดูการเจริญเติบโตของเด็กซึ่งอาจโตช้ากว่าปกติ ระยะเวลาที่ลำไส้สัมผัสกับน้ำคร่ำของมารดามีผลต่อการขาดเลือดและการหดตัวของลำไส้ ตรวจหาความผิดปกติร่วมทางหัวใจด้วย fetal echocardiography เจาะน้ำคร่ำตรวจความผิดปกติ chromosome ในทารกที่มีความผิดปกติร่วมรุนแรงหรือสงสัยเพื่อปรึกษากับพ่อแม่ และอาจพิจารณาระงับการตั้งครรภ์ถ้าความผิดปกติร่วมรุนแรง ควรพิจารณาส่งมารดาไปคลอดในสถานที่ที่มีกุมารศัลยแพทย์และหน่วยทารกแรกคลอดและเลือกเวลาคลอดที่เหมาะสม ไม่จำเป็นต้องผ่าตัดทารกออกทางหน้าท้องยกเว้นมีข้อบ่งชี้อื่น การผ่าตัดทารกออกไม่ลดอัตราภาวะแทรกซ้อนหรือเพิ่มการรอดชีวิต ( 4,5 ) มารดามักจะมี serum alpha fetoprotein สูงประมาณ 2 เท่าของปกติ ภาวะอื่นอาจสูงได้เช่นกันเช่น spina bifida การรักษาเฉพาะเพื่อปิดผนังหน้าท้อง จุดประสงค์ เพื่อปิดผนังหน้าท้อง ลดภาวะแทรกซ้อน ให้ทารกหายเร็วที่สุด การรักษาประคับประคอง omphalocele โดยไม่ปิดผนังหน้าท้องไม่แนะนำยกเว้นเด็กมีภาวะอันตรายถึงชีวิตเช่น หัวใจผิดปกติ หายใจลำบาก โครโมโซมผิดปกติรุนแรง คลอดก่อนกำหนด เลือกใช้กรณีจำเป็นที่สุด รักษาโดยใช้ 0.5% Mercurochrome ละลายใน 60% Alcohol ทาบนผิวถุงทุกชั่วโมงใน 48 ชั่วโมงแรก หลังจากนั้นทาวันละครั้งจนเกิด eschar จะพบว่าเกิด epithelization และผิวหนังงอกเริ่มจากขอบผิวหนัง จะสมบูรณ์ใน 10-19 อาทิตย์ อย่าทายาที่ granulation เพราะสารที่ทาจะถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือด ควรตรวจระดับสารปรอทในเลือด แม้ว่าเป็นความเข้มข้นที่ปลอดภัย อาจเลือกใช้ Silver sulfadiazine, 0.5% Silver nitrate solution, 70% Alcohol หรือ Biological dressing สำหรับ omphalocele ขนาดใหญ่มากอาจใช้แผ่น silastic ปิดทับถุง omphalocele พันด้วยผ้ายืด elastric wrap ทำให้อวัยวะนอกช่องท้องถูกดันกลับเข้าช่องท้องทีละน้อย สามารถปิดผนังหน้าท้องภายใน 2 อาทิตย์ ( 7 ).
อ่านเพิ่มเติมการวินิจฉัย ปัญหาและการดูแลทารกที่อยู่ในครรภ์ ทำ ultrasound อายุครรภ์ 10 อาทิตย์ที่ สามารถวินิจฉัยและแยกทั้งสองภาวะออกได้สามารถตรวจพบถุง membrane ลำไส้อยู่นอกช่องท้อง ตรวจ ultrasound เป็นระยะ ดูการเจริญเติบโตของเด็กซึ่งอาจโตช้ากว่าปกติ ระยะเวลาที่ลำไส้สัมผัสกับน้ำคร่ำของมารดามีผลต่อการขาดเลือดและการหดตัวของลำไส้ ตรวจหาความผิดปกติร่วมทางหัวใจด้วย fetal echocardiography เจาะน้ำคร่ำตรวจความผิดปกติ chromosome ในทารกที่มีความผิดปกติร่วมรุนแรงหรือสงสัยเพื่อปรึกษากับพ่อแม่ และอาจพิจารณาระงับการตั้งครรภ์ถ้าความผิดปกติร่วมรุนแรง ควรพิจารณาส่งมารดาไปคลอดในสถานที่ที่มีกุมารศัลยแพทย์และหน่วยทารกแรกคลอดและเลือกเวลาคลอดที่เหมาะสม ไม่จำเป็นต้องผ่าตัดทารกออกทางหน้าท้องยกเว้นมีข้อบ่งชี้อื่น การผ่าตัดทารกออกไม่ลดอัตราภาวะแทรกซ้อนหรือเพิ่มการรอดชีวิต ( 4,5 ) มารดามักจะมี serum alpha fetoprotein สูงประมาณ 2 เท่าของปกติ ภาวะอื่นอาจสูงได้เช่นกันเช่น spina bifida
อ่านเพิ่มเติมารรักษาทารกผนังหน้าท้องไม่ปิดแต่กำเนิด การรักษาทารกผนังหน้าท้องไม่ปิดแต่กำเนิด ความผิดปกติแต่กำเนิดของผนังหน้าท้องในทารกแรกคลอด ทำให้อวัยวะในช่องท้องอยู่นอกช่องท้อง ต้องได้รับการรักษาฉุกเฉินและการผ่าตัดที่เหมาะสมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและเพิ่มอัตราทารกรอดชีวิต อุบัติการณ์ประมาณ 1: 2,000 ในทารกคลอดมีชีวิต (1) ความผิดปกติแบ่งเป็นสองลักษณะคือ omphalocele และ gastroschisis ทั้งสองภาวะมีสาเหตุแตกต่างกัน Omphalocele ผนังหน้าท้องพัฒนาไม่สมบูรณ์ ทำให้ช่องท้องไม่ปิด มีเยื่อบางๆของ peritoneum, Wharton's jelly, amnionหุ้มอวัยวะที่ออกนอกช่องท้อง ส่วน gastroschisis ผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์ ไส้เลื่อนสะดึอแตกตอนทารกอยู่ในครรภ์ ลำไส้, กระเพาะทะลักออกนอกช่องท้องทางรูด้านข้างสายสะดือไม่มีสิ่งห่อหุ้ม
อ่านเพิ่มเติม