3 ตอบกลับ

ขณะตั้งครรภ์ต่อมไทรอยด์จะผลิตฮอร์โมนไทรอยด์มากขึ้นจากหลายกลไก เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในช่วงตั้งครรภ์ ได้แก่ การส่งผ่านฮอร์โมนไทรอยด์และสารไอโอดีนทางรก การขับไอโอดีนทางปัสสาวะทำให้ระดับไอโอดีนในเลือดลดลง สารบางอย่าง (Thyroid binding globulin) ในร่างกายเพิ่มมากขึ้นทำให้ฮอร์โมนไทรอยด์ออกฤทธิ์ลดลง เป็นต้น ซึ่งทำให้หญิงตั้งครรภ์หลายคนมีต่อมไทรอยด์โตชั่วคราวในช่วงตั้งครรภ์ ด้วยเหตุนี้เององค์การอนามัยโลกจึงแนะนำให้หญิงตั้งครรภ์รับสารไอโอดีนในอาหารปริมาณ 200ไมโครกรัม ขณะที่คนปกติต้องการ 150ไมโมโครกรัม และพบว่าในหญิงตั้งครรภ์มักจะพบก้อนเนื้อที่ต่อมไทรอยด์ม่กดว่าคนทั่วไป หรือหากมีก่อนเนื้ออยู่แล้วก้จะโตขึ้น แต่ทางการแพทย์ก้ไม่พบว่ากลายเป็นเนื้อร้ายแต่อย่างใด ส่วนการรักษาแพทย์จะเป็นผู้พิจารณาการรักษาโดยแพทย์เฉพาะทางด้านต่อมไร้ท่อและสูตินารีแพทย์ ซึงต้องติดตามแม่กลุ่มนี้อย่างใกล้ชิดเพื่อควบคุมมห้อยู่ในระยะสงบ ในสตนีมีครรภ์ส่วนมาดจะเป็นการใช้ยากลุ่ม ประทานฮอร์โมนไทรอยด์ชื่อไทร๊อกซิน หรือเอลทร๊อกซิน (Thyroxin, Eltroxin) กรณีที่เป็นไทรอยด์บกพร่อง (Hypothyroidism)ซึ่งไม่มีผลต่อทารกในครรภ์ แต่ต้องเป็นไปตามแพทย์สั่ง รายละเอียดเกี่ยวกับโรคไทรอยด์ของสตรีมีครรภ์สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่: http://www.thairath.co.th/content/245215

หากคุณแม่ตั้งครรภ์มีภาวะเสี่ยงหรือมีโรคประจำตัว คุณแม่ต้องแจ้งแพทย์ผู้รับฝากครรภ์ และทานยาตามที่แพทย์สั่งคะ

Promo terbesar expert care sudah dimulai, diskon hingga Rp.100.000 sedang berlangsung di shopee, ada juga voucher diskon 100% alias gratis bagi bunda yang beruntung. Buruan cek di https://shope.ee/9UfEMMqqTg (id-11066)

คำถามที่เกี่ยวข้อง

คำถามยอดฮิต

บทความเกี่ยวข้อง