คุณแม่

รบกวนถามคุณแม่ๆๆนะคะ เป็นประจำเดือนแล้วทำให้นำ้นมน้อยลงหรือป่าวค่ะ กลัวน้องกินนมไม่อิ่มค่ะ ขอบคุณทุกคำแนะนำค่ะ น

4 ตอบกลับ
undefined profile icon
เขียนข้อความตอบกลับ

ภาวะน้ำคร่ำน้อย คืออะไร ภาวะน้ำคร่ำน้อย คือภาวะที่คุณแม่ท้องมีปริมาณน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ หรือลดลงเหลือน้อยกว่าร้อยละ 5 ของปริมาตรน้ำคร่ำปกติในอายุครรภ์นั้นๆ ซึ่งเราจะทราบได้จากการตรวจอัลตราซาวนด์ โดยทั่วไปมักจะพบได้ร้อยละ 1 – 2 ของการตั้งครรภ์ จะรู้ได้อย่างไรว่าน้ำคร่ำน้อย ส่วนใหญ่แล้ว แม่ท้องมักจะไม่รู้ตัวเองว่ามีน้ำคร่ำน้อยผิดปกติ แต่ในบางครั้งหากแม่ท้องสังเกตุได้ว่าครรภ์ไม่ค่อยโตขึ้น แต่หากว่ามีถุงน้ำคร่ำรั่วหรือแตกก็อาจจะเห็นได้ชัดกว่าปกติ เพราะจะมีน้ำไหลออกมาจนเปียกหน้าขา หรือหากคลำที่ท้องแล้วรู้สึกว่าสัมผัสถึงตัวทารกได้ใกล้ขึ้น ก็อาจเป็นไปได้ว่าอาจมีครรภ์ผิดปกติ ควรรีบไปพบคุณหมอเพื่อเข้ารับการตรวจจะดีที่สุดครับ สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะน้ำคร่ำน้อยมีอะไรบ้าง ภาวะน้ำคร่ำน้อยเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น ถุงน้ำคร่ำรั่วหรือถุงน้ำคร่ำแตก มีความผิดปกติของรก เช่นภาวะรกเสื่อม ความพิการของทารก เช่นการไม่มีไตทำให้ไม่สามารถผลิสปัสสาวะออกมาได้ ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ มีภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์ เช่นภาวะครรภ์เป็นพิษ หรืออายุครรภ์เกินกำหนด การติดเชื้อของมารดาขณะตั้งครรภ์ เช่นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เกิดจากการรับประทานยาบางชนิด เช่น ยาลดความดันโลหิตสูง ยาแก้ปวดลดอักเสบ (ponstan, brufen)

อ่านเพิ่มเติม

ภาวะน้ำคร่ำน้อยอันตรายอย่างไร หากแม่ท้องมีภาวะน้ำคร่ำน้อยก็อาจส่งผลร้ายอื่นๆตามมาเช่น 0:00/0:00 ทำให้ทารกที่อยู่ในครรภ์เคลื่อนไหวไม่สะดวก ซึ่งจะส่งผลต่อการเจริญเติบโตของทารกได้ สายสะดืออาจถูกกดทับได้ง่าย ทำให้ทารกขาดออกซิเจน ส่งผลให้ทารกพิการตั้งแต่กำเนิดหรือเสียชีวิตในครรภ์ได้ เพิ่มโอกาสของการคลอดก่อนกำหนด มีโอกาสที่จะต้องทำการผ่าคลอดมากขึ้น มีความเสี่ยงที่จะทำให้ทารกเสียชีวิตแรกคลอดได้ หากน้ำคร่ำมีปริมาณน้อยตั้งแต่ในช่วงเริ่มต้นของการตั้งครรภ์ จะทำให้ปอดของทารกไม่ขยายตัว อาจทำให้ทารกมีปัญหาหลังคลอดได้

อ่านเพิ่มเติม

จะป้องกันและหลีกเลี่ยงภาวะน้ำคร่ำน้อยได้อย่างไร ภาวะน้ำคร่ำน้อยนั้นเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ จึงไม่มีแนวทางที่แฉพาะเจาะจงในการป้องกัน ขึ้นอยู่กับสาเหตุเป็นหลัก ซึ่งบางสาเหตุนั้นสามารถป้องกันได้ดังนี้ ปรึกษาแพทย์ก่อนการตั้งครรภ์ ฝากครรภ์และมาพบคุณหมออย่างสม่ำเสมอ หากแม่ท้องมีโรคประจำตัวก็ควรรักษาและควบคุมให้ดี รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบ 5 หมู่

อ่านเพิ่มเติม

ไม่น่าเกี่ยวนะคะ แต่ปกติแล้วถ้าคุณแม่ให้นม ประจำเดือนจะมาช้าค่ะ

คำถามที่เกี่ยวข้อง